ขั้นตอนการดำเนินงานตามเกณฑ์ |
หมวดที่ 3 การจัดการทรัพยากรและพลังงาน |
|
ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์หมวดที่ 3 |
|
มหาวิทยาลัยรังสิตมีหน่วยงานดูแลรับผิดเรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อมโดยตรงคือแผนกพลัง งานและสิ่งแวดล้อม (Department of Energy and Environment)
สังกัดสำนักงานอาคารและสิ่งแวดล้อม ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมการใช้พลังงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย และสรุปข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในอาคารต่างๆ
วางแผนและหามาตรการในการประ หยัดพลังงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัย และจัดซื้อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการประหยัดพลังงานติดตั้งตามอาคารต่างๆ โดยจะ
มีการตรวจสอบทุกระยะเพื่อดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงเพื่อการประหยัดพลังงาน
|
มหาวิทยาลัยรังสิตได้ให้ความสำคัญในเรื่องการดูแลพลังงานโดยได้ประกาศเป็นนโยบายมาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
1. นโยบายประหยัดพลังงานมหาวิทยาลัยรังสิต ปี พ.ศ. 2547
2. นโยบายประหยัดพลังงานมหาวิทยาลัยรังสิต ปี พ.ศ. 2559
3. นโยบายประหยัดพลังงานมหาวิทยาลัยรังสิต ปี พ.ศ. 2560
รวมทั้งได้แต่งตั้งคณะบุคคลขึ้นมาดูแลรับผิดชอบ ได้แก่
1.คณะกรรมการประเมินผลการจัดการพลังงาน
เพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบและประเมินวิธีจัดการพลังงานภายในหน่วยงานต่างๆ และสรุปผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และรายงาน
การประหยัดพลังงานต่อมหาวิทยาลัยรังสิต
2.คณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน
เพื่อทำหน้าที่จัดการพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายพลังงานของอาคาร ประสานงาน ควบคุม ดูแลให้วิธีการจัดการพลังงานของอาคารดำเนินไป
อย่างมีประสิทธิภาพและรายงานให้เจ้าของอาคารได้รับทราบ รวมทั้งการทบทวนนโยบายอนุรักษ์พลังงานและการ จัดการพลังงานอย่างสม่ำเสมอ
ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจส่งผลให้ในปี พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยรังสิตได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลดีเด่นด้านผู้ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและ
พลังงานทดแทนประ เภทสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มสท.) ในการประกวด Thailand Energy
Award 2017 ซึ่งจัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน
|
|
|
|
1.การใช้พลังงานไฟฟ้าของอาคารหอสมุด
สำนักหอสมุดร่วมกับแผนกพลังงานและสิ่งแวดล้อมร่วมติดตามการใช้พลังงานของอาคารหอสมุด รายงานปริมาณการใช้ไฟฟ้าระหว่างปี พ.ศ. 2558 - 2560 ปรากฏดังนี้
|
|
|
|
|
|
ไฟฟ้ามาตรฐาน = [((0.456 x จำนวนบุคลากร) + (0.132 x เวลาทำการ) + (0.007 x จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ)) x
(พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร/1,000)] x อุณหภูมิ
EUI =(ปริมาณการใช้ไฟฟ้ามาตรฐาน - ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริง)/ปริมาณการใช้ไฟฟ้าจริง
ตัวเลขค่าสัมประสิทธิ์อาจมีการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถตรวจสอบข้อมูลทางwww.e-report.energy.co.th
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เมื่อเปรียบเทียบการใช้ปริมาณไฟฟ้าระหว่างปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปรากฏผล ดังนี้ |
|
|
|
|
กิจกรรมที่สำนักหอสมุดได้ดำเนินการเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
1. มีการบำรุงรักษาระบบต่างๆ ที่มีในห้องสมุดอย่างต่อเนื่อง
2. มีการเปลี่ยนหลอด Compact Fluorescent เป็น LED
|
|
|
|
|
|
3. การติดตั้งไฟกระตุก |
|
|
|
|
4. การทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศและอุปกรณ์ไฟฟ้า |
|
|
|
|
|
2. การใช้น้ำของอาคารหอสมุด |
|
ปริมาณการใช้น้ำ ปี พ.ศ. 2559 และปี พ.ศ. 2560 |
|
|
|
เปรียบเทียบปริมาณการใช้น้ำระหว่าง ปี พ.ศ. 2559 กับ ปี พ.ศ. 2560 |
|
|
|
กิจกรรมที่สำนักหอสมุดได้ดำเนินการเพื่อรณรงค์ประหยัดน้ำ
|
|
1. การรณรงค์ประหยัดน้ำ
|
|
|
|
|
|
3. การจัดการขยะของอาคารหอสมุด |
|
|
|
|
|
กิจกรรมที่สำนักหอสมุดดำเนินการเพื่อลดปริมาณขยะ
|
|
1. กิจกรรมคัดแยกขยะเพื่อนำกลับไปรีไซเคิล
|
|
|
|
2. จัดกิจกรรมประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุรีไซเคิล
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3. กิจกรรมลดการนำกล่องโฟมและถุงพลาสติกเข้าห้องสมุดทุกวันที่ 15 ของเดือน
|
|
|
|
|
|
4. การจัดการน้ำเสียของอาคารหอสมุด
|
|
ระบบบำบัดน้ำเสียของมหาวิทยาลัยรังสิตเป็นระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมากาศ(อาคาร13) มีความสามารถในการบำบัดน้ำเสีย 2,000 ลบ.ม/วันโดยมีเครื่องเติม
อากาศแบบกังหัน 4ใบพัด ขนาด 2 แรงม้า จำนวน 4 ชุด และแบบเครื่องเติมอากาศใต้น้ำขนาด 2 แรงม้า จำนวน 6 ชุด โดยจะทำงานพร้อมกัน 8 ชุด
หยุดพัก 2 ชุดสลับเปลี่ยนกันไป ตลอด 24 ชั่วโมง น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วจะไหลไปรวมกันที่บ่อตกตะกอนเพื่อให้น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้วตกตะกอน
ก่อนจะไหลไปที่โรงสูบน้ำและปล่อยออกสู่ท่อระบายน้ำข้างถนนในหมู่บ้านเมืองเอก โดยการสูบออก มีการตรวจวัดค่าของน้ำทิ้งให้เป็นไปตามกฎหมาย
ทุกเดือนจากห้องทดลองคณะวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และส่งรายงานการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสียให้กับกรมควบคุมมลพิษทางอิเล็กทอนิกส์
อีกทั้งยังมีการส่งตัวอย่างน้ำตรวจกับห้องทดลองด้านสิ่งแวดล้อมที่ขึ้นทะเบียนกับกรมควบคุมมลพิษ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5.การสื่อสารและรณรงค์เรื่องการประหยัดไฟฟ้า ประหยัดน้ำ และทรัพยากร
กิจกรรมที่สำนักหอสมุดดำเนินการเพื่อการสื่อสารและรณรงค์
|
|
1. ป้ายประชาสัมพันธ์แสดงเจตนารมณ์ที่จะเป็นห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
|
|
|
|
2.การประชาสัมพันธ์รณรงค์ทางสื่อ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3. การประชาสัมพันธ์รณรงค์ด้วยป้ายและสติกเกอร์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
6. จัดกิจกรรมให้ความรู้และสร้างการมีส่วนร่วม
|
|
6.1 จัดนิทรรศการฯ
|
|
|
|
6.2 จัดมุมความรู้สีเขียว
|
|
|
|
|
|
6.3 จัดบอร์ดให้ความรู้
|
|
|
|
|
|
6.4 กิจกรรมสอนการใช้และการสืบค้น
|
|
|
|
6.5 กิจกรรมการประกวด
|
|
|
|
7.ระบบการจัดการเพื่อลดเวลาและต้นทุน |
|
ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์มหาวิทยาลัยรังสิต : http://www.rsu.ac.th/otp/index.php?limitstart=
|
|
|
|
8. ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
|
|
งานสารบรรณ มหาวิทยาลัยรังสิต : http://www.rsu.ac.th/OfficeDocument/
|
|
|
|
9.ระบบรถสาธารณะ/รถร่วม
|
|
|
|
|
|
|
|
10. การจัดการก๊าซเรือนกระจก
|
|
|
|
|
|
|
|